8.93 การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
เป็นจุดเด่นของระบบสารสนเทศ เพราะนอกจากกระบวนการบันทึก แก้ไขและลบข้อมูลแล้ว
การดำเนินการเพื่อให้ได้สารสนเทศออกมาซึ่งอาจจะเป็นผลจากการ จัดกลุ่ม
การรวม หรือการนับข้อมูลตามเงื่อนไข จะมีประโยชน์มาก ดังนั้นคำสั่งของภาษา SQL จึงนำมาใช้ร่วมกับภาษาไพธอนได้ ตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นการสั่งนับข้อมูลของลูกค้าที่มีที่อยู่ใน
อำเภอหาดใหญ่
ภาพที่ 8.28 แสดงคำสั่งการประมวลผลข้อมูล
ผลการทำงานของโปรแกรม ดังภาพที่ 8.29
ภาพที่ 8.29 แสดงผลการนับจำนวนลูกค้าตามเงื่อนไข
บทสรุป
การนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้กับภาษาไพธอน มีความสำคัญสำหรับผู้ที่สนใจกับการประยุกต์ใช้ร่วมกับฐานข้อมูล สร้างระบบสารสนเทศ หรือระบบฐานข้อมูล ทั้งรูปแบบที่ทำงาน เป็นโปรแกรมประเภท Desktop หรือบนเครือข่ายเว็บ การประยุกต์ใช้กับระบบฐานข้อมูลผู้พัฒนาระบบจะต้อง ศึกษาหรือมีความรู้ทางด้านการออกแบบระบบฐานข้อมูลเป็นอย่างดีมาก่อน ซึ่งประกอบด้วย ความเข้าใจโครงสร้างตารางข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง การสร้างพจนานุกรมข้อมูลและคำสั่งภาษา SQL ในส่วนของภาษาไพธอน มีมอดูล MySQLdb ซึ่งเรียกใช้ฐานข้อมูลของ MySQL ฟังก์ชันหรือเมท็อดที่ใช้มีจำนวนไม่มากนัก ได้แก่ การติดต่อฐานข้อมูลใช้เมท็อด MySQLdb.connect() การประมวลผลคำสั่ง SQL ใช้ cursor() ร่วมกับ execute(), fetchone() สำหรับประมวลผลคำสั่ง SQL เพียงคำสั่งเดียว และ fetchall() สำหรับประมวลผลหลายคำสั่ง เป็นต้น
ภาพที่ 8.28 แสดงคำสั่งการประมวลผลข้อมูล
ผลการทำงานของโปรแกรม ดังภาพที่ 8.29
ภาพที่ 8.29 แสดงผลการนับจำนวนลูกค้าตามเงื่อนไข
บทสรุป
การนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้กับภาษาไพธอน มีความสำคัญสำหรับผู้ที่สนใจกับการประยุกต์ใช้ร่วมกับฐานข้อมูล สร้างระบบสารสนเทศ หรือระบบฐานข้อมูล ทั้งรูปแบบที่ทำงาน เป็นโปรแกรมประเภท Desktop หรือบนเครือข่ายเว็บ การประยุกต์ใช้กับระบบฐานข้อมูลผู้พัฒนาระบบจะต้อง ศึกษาหรือมีความรู้ทางด้านการออกแบบระบบฐานข้อมูลเป็นอย่างดีมาก่อน ซึ่งประกอบด้วย ความเข้าใจโครงสร้างตารางข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง การสร้างพจนานุกรมข้อมูลและคำสั่งภาษา SQL ในส่วนของภาษาไพธอน มีมอดูล MySQLdb ซึ่งเรียกใช้ฐานข้อมูลของ MySQL ฟังก์ชันหรือเมท็อดที่ใช้มีจำนวนไม่มากนัก ได้แก่ การติดต่อฐานข้อมูลใช้เมท็อด MySQLdb.connect() การประมวลผลคำสั่ง SQL ใช้ cursor() ร่วมกับ execute(), fetchone() สำหรับประมวลผลคำสั่ง SQL เพียงคำสั่งเดียว และ fetchall() สำหรับประมวลผลหลายคำสั่ง เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น