auto mount NTFS Drive on Ubuntu Startup
เพื่อน ๆ ที่เคยใช้ Ubuntu มาพักหนึ่ง และเคยสร้างฐานข้อมูลเพลง
Import เพลงจาก drive ที่เป็น NTFS หรือ drive คงหงุดไม่น้อย
ถ้าต้องมานั่งกด mount drive กันทุกครั้งที่เริ่มต้นใช้งาน เพราะอย่าลืมว่า linux
ไม่เหมือนกับ window การจะใช้งานอุปกรณ์ Hardware เช่น HDD นั้นต้อง
ทำการ mount เสียก่อน หากใช้ ubuntu-gnome ก็สามารถเข้าไปที่เมนู
ด้านบน
Place->"myDrive"
แต่วันนี้มานำเสนอการ auto mount drive อื่น ๆ บน linux กัน
เริ่มเลยครับ
1. เปิด หน้าต่าง terminal มาก่อนอื่นใดครับ
(Applications -> Accessories -> Terminal)
2.ตรวจสอบข้อมูล disk drive ของเราก่อน
$sudo fdisk -l
3. ระบบจะรายงานข้อมูลเบื้องต้น เช่น
----------------------------------------------------------------
Disk /dev/sda: 40.0 GB, 40007761920 bytes
255 heads, 63 sectors/track, 4864 cylinders
Units = cylinders of 16065 * 512 = 8225280 bytes
Sector size (logical/physical): 512 bytes / 512 bytes
I/O size (minimum/optimal): 512 bytes / 512 bytes
Disk identifier: 0x767d767d
Device Boot Start End Blocks Id System
/dev/sda1 * 1 1528 12273628+ 7 HPFS/NTFS
/dev/sda2 1529 2550 8208385 5 Extended
/dev/sda3 2551 4665 16988706 7 HPFS/NTFS
/dev/sda4 4666 4864 1597440 82 Linux swap
/dev/sda5 1529 2550 8208384 83 Linux
----------------------------------------------------------------
sda แทน harddisk ตัวที่หนึ่งครับ , หมายเลย index 1-5 แทน parttion number
สมมติว่าเราต้องการ auto-mount sda3 ซึ่งเป็น NTFS partition
4. จากนั้นพิมพ์คำสั่ง
$sudo gedit /etc/fstab
ระบบจะรายงานข้อมูลดังนี้
----------------------------------------------------------------
# /etc/fstab: static file system information.
.
.
.
----------------------------------------------------------------
จากนั้นให้เพิ่มบรรทัดล่างสุดไป ดังตัวอย่างนี้ครับ
/dev/sda3 /media/DATA ntfs-3g defaults 0 0
สิ่งที่เราต้องแก้คือ
4.1 /dev/sda3 # ให้ตรงกับ drive ที่เราต้องการ
4.2 /media/DATA # ซึ่ง "DATA" แทนชื่อ label ของ drive
เราต้องทราบชื่อ label ของ drive ก่อน
5. สร้าง folder ชื่อ "DATA" (ชื่อตรงตาม label ของ drive NTFS)
$sudo mkdir /media/DATA
หากเรา mount parttion ไว้ก่อนแล้ว จะ report error ครับ
ต้อง umount ก่อน โดยใช้คำสั่ง
$sudo umount /medai/DATA
จากนั้นค่อยใช้คำสั่ง mkdir
6. ลองทดสอบการทำงาน
$sudo mount -a
หรือ restart เครื่อง เป็นอันเสร็จพิธี
trip:
ลองเปลี่ยน label drive ดูเล่น ๆ นะครับ
ก่อนอื่นต้อง umount ก่อนหากจำเป็น แล้วใช้คำสั่ง
$sudo ntfslabel /dev/sda3 newlabel
Import เพลงจาก drive ที่เป็น NTFS หรือ drive คงหงุดไม่น้อย
ถ้าต้องมานั่งกด mount drive กันทุกครั้งที่เริ่มต้นใช้งาน เพราะอย่าลืมว่า linux
ไม่เหมือนกับ window การจะใช้งานอุปกรณ์ Hardware เช่น HDD นั้นต้อง
ทำการ mount เสียก่อน หากใช้ ubuntu-gnome ก็สามารถเข้าไปที่เมนู
ด้านบน
Place->"myDrive"
แต่วันนี้มานำเสนอการ auto mount drive อื่น ๆ บน linux กัน
เริ่มเลยครับ
1. เปิด หน้าต่าง terminal มาก่อนอื่นใดครับ
(Applications -> Accessories -> Terminal)
2.ตรวจสอบข้อมูล disk drive ของเราก่อน
$sudo fdisk -l
3. ระบบจะรายงานข้อมูลเบื้องต้น เช่น
----------------------------------------------------------------
Disk /dev/sda: 40.0 GB, 40007761920 bytes
255 heads, 63 sectors/track, 4864 cylinders
Units = cylinders of 16065 * 512 = 8225280 bytes
Sector size (logical/physical): 512 bytes / 512 bytes
I/O size (minimum/optimal): 512 bytes / 512 bytes
Disk identifier: 0x767d767d
Device Boot Start End Blocks Id System
/dev/sda1 * 1 1528 12273628+ 7 HPFS/NTFS
/dev/sda2 1529 2550 8208385 5 Extended
/dev/sda3 2551 4665 16988706 7 HPFS/NTFS
/dev/sda4 4666 4864 1597440 82 Linux swap
/dev/sda5 1529 2550 8208384 83 Linux
----------------------------------------------------------------
sda แทน harddisk ตัวที่หนึ่งครับ , หมายเลย index 1-5 แทน parttion number
สมมติว่าเราต้องการ auto-mount sda3 ซึ่งเป็น NTFS partition
4. จากนั้นพิมพ์คำสั่ง
$sudo gedit /etc/fstab
ระบบจะรายงานข้อมูลดังนี้
----------------------------------------------------------------
# /etc/fstab: static file system information.
.
.
.
----------------------------------------------------------------
จากนั้นให้เพิ่มบรรทัดล่างสุดไป ดังตัวอย่างนี้ครับ
/dev/sda3 /media/DATA ntfs-3g defaults 0 0
สิ่งที่เราต้องแก้คือ
4.1 /dev/sda3 # ให้ตรงกับ drive ที่เราต้องการ
4.2 /media/DATA # ซึ่ง "DATA" แทนชื่อ label ของ drive
เราต้องทราบชื่อ label ของ drive ก่อน
5. สร้าง folder ชื่อ "DATA" (ชื่อตรงตาม label ของ drive NTFS)
$sudo mkdir /media/DATA
หากเรา mount parttion ไว้ก่อนแล้ว จะ report error ครับ
ต้อง umount ก่อน โดยใช้คำสั่ง
$sudo umount /medai/DATA
จากนั้นค่อยใช้คำสั่ง mkdir
6. ลองทดสอบการทำงาน
$sudo mount -a
หรือ restart เครื่อง เป็นอันเสร็จพิธี
trip:
ลองเปลี่ยน label drive ดูเล่น ๆ นะครับ
ก่อนอื่นต้อง umount ก่อนหากจำเป็น แล้วใช้คำสั่ง
$sudo ntfslabel /dev/sda3 newlabel
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น